Menu Close

_แบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียมความพร้อม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2564

 

_แบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียมความพร้อม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2564

ด้านที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการตามพันธกิจที่ตอบสนองต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ

องค์ประกอบที่ 1.1 บริบทของสถาบันอุดมศึกษา (Organization Context) ที่ตอบสนองต่อแผนยุทธศาสตร์ชาติ

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1.1

ผลการสังเคราะห์เชิงคุณภาพที่สถาบันจัดทำในเรื่องการดำเนินงานที่สะท้อนอัต ลักษณ์ภายใต้พันธกิจหลักของสถาบัน และการตอบสนองความต้องการของท้องถิ่นและประเทศทั้งในเชิงภารกิจและ เชิงพื้นที่เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและทิศทางการพัฒนาประเทศในอนาคตตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.1.2

ผลการสังเคราะห์เชิงคุณภาพที่สถาบันจัดทำในเรื่องการดำเนินงานตามแผนพัฒนา สถาบันตามพันธกิจหลักของสถาบัน ตามระบบหรือกลไกที่สถาบันกำหนดโดยนำแผนพัฒนาสถาบันไปถ่ายทอดสู่การ ปฏิบัติที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายของการพัฒนาการศึกษาของประเทศ

องค์ประกอบที่ 1.2 ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานด้านกำรบริหารสถถบันอุดมศึกษา

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2.1

ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์การบริหารสถาบันอุดมศึกษาตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

ประเด็นการพิจารณาที่ 1.2.2

ผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์การบริหารสถาบันตามหลักธรรมาภิบาล

 

_แบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียมความพร้อม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2564

ด้านที่ 2 คุณภาพบัณฑิต (ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก)

องค์ประกอบที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.1.1

การมีงานทำ หรือการศึกษาต่อ หรือประกอบ อาชีพอิสระภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.1.2

ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF)

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.1.3

ทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 อาทิ ทักษะในการทำงาน
Hard Skill Soft Skill IT Literacy หรือ Digital Literacy จากการสัมภาษณ์ผู้ใช้บัณฑิตหรือผลการปฏิบัติที่
แสดงถึงทักษะดังกล่าว

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.1.4

ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ

องค์ประกอบที่ 2.2 คุณภาพบัณฑิตปริญญาโท

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.2.1

ผลการนำความรู้ และทักษะในวิชาชีพไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานโดยใช้
ความรู้ขั้นสูงในการปฏิบัติและพัฒนางานเพื่อให้งานหรือองค์กรเกิดความก้าวหน้าในเชิงนโยบาย วิชาการ หรือ
ด้านการบริหารจัดการ โดยมีคุณภาพผลงานเป็นที่ยอมรับเชิงประจักษ์

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.2.2

สัดส่วนผลงานของบัณฑิตที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทที่พัฒนาความ
เชี่ยวชาญ หรือการต่อยอดความรู้ที่สอดคล้องกับ (1) แนวทางการวิจัยและพัฒนาตามความเชี่ยวชาญของ
สถาบัน หรือ (2) แนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ หรือ (3) งานวิจัยที่สามารถ
ประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอกหรือภาค อุตสาหกรรม

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.2.3

ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ

องค์ประกอบที่ 2.3 คุณภาพบัณฑิตปริญญาเอก

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.3.1

คุณภาพของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ หรือนานาชาติ

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.3.2

สัดส่วนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของนิสิต นักศึกษาระดับปริญญาเอกเป็น
งานวิจัยที่เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมที่สอดคล้องกับ 1) แนวทาง การวิจัยและพัฒนาตามความ
เชี่ยวชาญของสถาบัน หรือ 2) แนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ หรือ 3) งานวิจัยที่
สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอก หรือภาคอุตสาหกรรม

ประเด็นการพิจารณาที่ 2.3.3

 

_แบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียมความพร้อม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2564

ด้านที่ 3 คุณภาพงานวิจัย

องค์ประกอบที่ 3.1 คุณภาพงานวิจัยและงานสร้างสรรค์

ประเด็นการพิจารณาที่ 3.1.1

สัดส่วนผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ที่มีความสอดคล้องกับบริบทของ
สถาบันอุดมศึกษาและตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ

ประเด็นการพิจารณาที่ 3.1.2

สัดส่วนผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ที่มีการอ้างอิงจากวารสาร วิชาการที่
ตีพิมพ์เผยแพร่ (Citation)

ประเด็นการพิจารณาที่ 3.1.3

สัดส่วนผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ที่ได้รับรางวัล หรือทุนวิจัยจาก
หน่วยงานภายนอกในระดับชาติ หรือนานาชาติ

องค์ประกอบที่ 3.2 คุณภาพงานวิจัยเชิงประยุกต์และการพัฒนานวัตกรรม

ประเด็นการพิจารณาที่ 3.2.1

สัดส่วนผลงานวิจัยเชิงประยุกต์และการพัฒนานวัตกรรมที่มีความสอดคล้องกับ
บริบทของสถาบันอุดมศึกษา ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ มีสิ่งประดิษฐ์คิดค้นที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ

ประเด็นการพิจารณาที่ 3.2.2

สัดส่วนผลงานวิจัยเชิงประยุกต์และการพัฒนานวัตกรรมจนมีการจดทะเบียน
ผลงานจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น การจดสิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ อนุสิทธิบัตร เป็นต้น

ประเด็นการพิจารณาที่ 3.2.3

สัดส่วนผลงานวิจัยเชิงประยุกต์และการพัฒนานวัตกรรมที่สามารถนำมา
ประยุกต์ใช้ หรือได้ทุนวิจัยพัฒนาต่อยอดจากหน่วยงานภายนอก

 

_แบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียมความพร้อม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2564

ด้านที่ 4 ผลของการบริการวิชาการ

องค์ประกอบที่ 4.1 ผลของการบริการวิาการสู่สาธารณะ (Public Service)

ประเด็นการพิจารณาที่ 4.1.1

ผลการประเมินงานบริการวิชาการของผู้รับบริการที่สามารถนำไปใช้ในการ
พัฒนาหรือประยุกต์ใช้ส่วนใดส่วนหนึ่งได้

ประเด็นการพิจารณาที่ 4.1.2

ผลการบริการวิชาการที่สามารถสร้างคุณค่า (Value) แก่ผู้รับบริการ ชุมชน
และสังคมได้ โดยสามารถนำผลจากการบริการวิชาการไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม เป็นผลกระทบเชิง
บวกในวงกว้าง

ประเด็นการพิจารณาที่ 4.1.3

ผลความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการวิชาการของสถาบัน
อุดมศึกษาโดยคำนึงถึงการใช้นวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาสนับสนุนให้ชุมชนสร้างสังคมคุณภาพ รองรับ
โอกาสและความท้าทายในอนาคต

องค์ประกอบที่ 4.2 ผลของการบริการวิชาการแบบเฉพาะ (Specific Service)

ประเด็นการพิจารณาที่ 4.2.1

ผลการประเมินงานบริการวิชาการจากหน่วยงานที่ร้องขอสามารถทำให้เกิดประโยชน์ได้จริง

ประเด็นการพิจารณาที่ 4.2.2

ผลงานบริการวิชาการสามารถสร้างคุณค่า (Value) โดยพิจารณาจากผลที่คาด
ว่าจะได้รับจากผลการบริการวิชาการนั้น ๆ (ข้อมูลเชิงคุณภาพ) ได้แก่ (1) In Cash คือ การสร้างคุณค่าพิจารณา
ผ่านค่าใช้จ่าย/มูลค่า/รายได้ (2) In Kind คือ การสร้างคุณค่าที่ไม่เน้นมูลค่า/รายได้ อาทิ การสร้างความผูกพัน
ต่อองค์กรการเกิดวัฒนธรรมองค์กร หรือองค์ความรู้ใหม่ เป็นต้น

ประเด็นการพิจารณาที่ 4.2.3

ผลการประเมินการบริการวิชาการแบบเฉพาะ (Specific Service) โดย
คณะกรรมการวิชาการของสถาบัน อุดมศึกษา

 

_แบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียมความพร้อม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2564

ด้านที่ 5 ผลของการประกันคุณภาพภายใน

องค์ประกอบที่ 5.1 ผลสัมฤทธิ์ระบบประกันคุณภาพภายใน

ประเด็นการพิจารณาที่ 5.1.1

ผลการประกันคุณภาพภายใน (IQA) ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหาร
สถาบันอุดมศึกษา สามารถนำไปปรับปรุงพัฒนาและเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารสถาบันอุดมศึกษาได้

ประเด็นการพิจารณาที่ 5.1.2

ผลการประกันคุณภาพภายใน (IQA) จากการดำเนินการประกันภายในโดย
สถาบันอุดมศึกษา

ประเด็นการพิจารณาที่ 5.1.3

ผลของการบริหารงานประกันคุณภาพภายใน (IQA) ที่เป็นส่วนหนึ่งในการ
ขับเคลื่อนให้เกิดวัฒนธรรมคุณภาพภายในสถาบันอุดมศึกษา

องค์ประกอบที่ 5.2 ผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตรทั้งหมดของสถาบันอุดมศึกษา

ประเด็นการพิจารณาที่ 5.2.1

ผลของการนำผลการประเมินคุณภาพหลักสูตรไปใช้ปรับปรุง พัฒนา และบริหารจัดการ

  • คลิกเพื่อดูรายละเอียด
ประเด็นการพิจารณาที่ 5.2.2

หลักสูตรได้รับการรับทราบจากหน่วยงานต้นสังกัด หรือการรับรองจากสภา
วิชาชีพ (กรณีมีสภาวิชาชีพ)

ประเด็นการพิจารณาที่ 5.2.3

หลักสูตรได้รับการรับรองจากองค์กรรับรองคุณภาพในระดับนานาชาติ
(International Accreditation Bodies)

 

_แบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียมความพร้อม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2564

สรุปผลการพิจารณาตนเอง

 

 

_แบบสำรวจตนเองเพื่อเตรียมความพร้อม สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน ตามกรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอก ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2564